ผลงานที่ผ่านการคัดเลือกให้เสนอในการประชุมวิชาการเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ประจำปี ครั้งที่ 36 สวสท.’67

ผลงานที่ผ่านการคัดเลือกให้เสนอในการประชุมวิชาการเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ประจำปี ครั้งที่ 36 สวสท.’67

 

ผลงานที่ผ่านการคัดเลือกให้นำเสนอ

การประชุมวิชาการเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมประจำปี ครั้งที่ 36 สวสท.’67

"การพัฒนาและเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจอย่างยั่งยืน"

ในวันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน 2567 
ณ ห้องประชุมแมกโนเลีย 2-3 ชั้น 4 อาคาร ทีเค.3
โรงแรม ทีเค. พาเลซ แอนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร


สวสท. ร่วมกับ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) จัด การประชุมวิชาการเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ประจำปี ครั้งที่ 36 สวสท.’67 "การพัฒนาและเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจอย่างยั่งยืน" โดยรูปแบบการประชุมวิชาการประกอบด้วยการเสวนา นำโดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจากภาครัฐและเอกชน การนำเสนอบทความโดยการบรรยาย รวมทั้งการนำเสนอในแบบโปสเตอร์ ในวันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน 2567  ณ ห้องประชุมแมกโนเลีย 2-3 ชั้น 4 อาคาร ทีเค.3 โรงแรม ทีเค. พาเลซ แอนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผลงานที่ผ่านการคัดเลือกให้นำเสนอ มีดังนี้ 

ภาคเอกชน (Oral Presentations) 
  • การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของฟาร์มสุกรกรณีศึกษาบริษัท สระบุรีฟาร์ม จำกัด จังหวัดสระบุรี

    นายภัควัฒน์ ทองแสง
    บริษัท สระบุรีฟาร์ม จำกัด

  • การมีส่วนร่วมแนวทางการประเมินการกักเก็บคาร์บอนจากการพัฒนาพื้นที่สีเขียว เทศบาลตำบลทับมา อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

    พิชชานันท์ ดำรงทิพย์รัตน์
    เทศบาลตำบลทับมา

  • การจัดการก๊าซเรือนกระจกในอุตสาหกรรมผู้รับกำจัดของเสีย

    นายสุรศักดิ์ ปราบสูงเนิน
    บริษัท ฮีดากา โยโก เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด

  • การพัฒนาระบบสุขาภิบาลในเขตเทศบาลเมืองแสนสุขสู่สังคมคาร์บอนต่ำ

    นางสาวฤทัยชนก ภู่พวง
    เทศบาลเมืองแสนสุข

  • การจัดการขยะมูลฝอยตามเป้าหมายการฝังกลบให้เป็นศูนย์

    นางสาวธดาภรณ์ ดำรงค์ภูมิ
    บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด

  • การจัดการกากอุตสาหกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียนของโรงงานอุตสาหกรรมผู้รับกำจัดของเสีย

    วัฒนา เหลืองอ่อน
    บริษัท สยามวัฒนา เวสต์ แมนเน็จเม้นท์ จำกัด

  • การพัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นยางจิ๊กซอว์ปูพื้นกันกระแทกจากของเสียในกระบวนการผลิตถุงยางอนามัย

    นายจักรพงค์ ชูพยัคฆ์
    บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ จำกัด (มหาชน)
  • การหมุนเวียนพลังงานความร้อนสูญเสียจากเตาอบชิ้นส่วนชุดเฟืองท้ายรถยนต์

    นางสาวสัญชุมากรณ์ เสงี่ยม
    บริษัท ฮีโน่มอเตอร์ส แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด
ภาควิชาการ/ การศึกษา (Oral Presentations) 

การศึกษาความเป็นอันตรายและแนวทางการจัดเก็บเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้แล้ว

นางสาวนันทิกานต์ ดำเรืองศรี
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

การประมาณค่าเชิงพื้นที่เพื่อการวิเคราะห์การแพร่กระจายฝุ่นละอองในบริเวณมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

ผศ.ธิดารัตน์ คำล้อม
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

การจัดการขยะทะเลบริเวณชายหาดป่าตอง จังหวัดภูเก็ต

ผศ.นิติญา สังขนันท์
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

 

การศึกษาประสิทธิภาพการกำจัดไมโครพลาสติกของระบบบำบัดน้ำเสียในประเทศไทย

นางสาวพัชรินทร์ นาคหล่อ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

การนำเทคโนโลยี IoT (Internet of Things) มาใช้ติดตามและควบคุมค่าพีเอชและค่าการนำไฟฟ้าในระบบบำบัดน้ำเสีย

นายอาชวิศร ชื่นอารมย์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เพิ่มประสิทธิภาพของไฮโดรไซโคลน ในระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำ โดย อินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่ง

นายปิยะ ตั้งพงษ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การบำบัดน้ำเสียสังเคราะห์ปนเปื้อนสีย้อมกระบวนการโฟโตคะตะลิติกขั้นสูงร่วมกับตัวเร่งปฏิกิริยา CoFe2O4/g-C3N4

นายสรวิชญ์ จิราพิชย์วรกุล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

การเตรียมโฟโตคะตะลิสต์เฮทเทอโรจังก์ชัน ZnO/rGO เพื่อการย่อยสลายสีอินทรีย์ขั้นสูง

นายพุทธิเดช พูเฮืองหงส์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

การเปรียบเทียบชนิดและประมาณของกลุ่มจุลินทรีย์ในระบบบำบัดน้ำเสียแบบยูเอเอสบีจากโรงงานผลิตเบียร์

นางสาวพจนีย์ หนูขาว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

กระบวนการนาโนฟิลเตรชั่นของสารอินทรีย์ธรรมชาติและเกลือ คลอไรด์: ผลของความแรงประจุต่อการลดลงของฟลักซ์และการกำจัด

นางสาวอภิญญา อ่อนสาร
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

การนำน้ำหล่อเย็นอัญมณีจากกระบวนการฉายอิเล็กตรอนบีมกลับมาใช้ซ้ำ

นายธรรมสรณ์ ลำใย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

ผลของวัสดุปรับปรุงดินละลายช้าจากของเหลือทิ้งในกระบวนการสกัดเพคตินต่อการเจริญเติบโตของผักคะน้า

ผศ.ดร.เอราวัณ เบ้าทอง
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ผลของวัฏจักรการเติมน้ำเสียต่อการเกิดตะกอนเม็ดใช้อากาศในระบบเอสบีอาร์

ผศ.ดร.สาโรช บุญยกิจสมบัติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

การประเมินผลกระทบจากการรั่วไหลของก๊าซธรรมชาติของระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ โดย BREEZE Incident Analyst

นายศราวุธ สุพรมอินทร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

แนวทางการจัดการวัสดุเหลือทิ้งจากการปลูกลำไยอย่างยั่งยืน

รศ.ดร.พัชรี อินธนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้

การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติป่าชายเลนในเกาะธรรมชาติท่าข้าม ตำบลท่าข้าม อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา

นางสาวณัฐพร สนเผือก
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

การศึกษาสมรรถนะของระบบบำบัดน้ำเสียโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า เพื่อรองรับการบำบัดยาปฏิชีวนะที่ตกค้าง

นางสาวจารุวรรณ มานุ้ย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การบำบัดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพอีโคไลในน้ำเสียชุมชนสังเคราะห์ด้วยวิธีการโฟโตแคตตาไลติกคาร์บอนเคลือบไทเทเนียมออกไซด์

นางสาวเพ็ชรรัตน์ วงษ์สุวรรณ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การจัดการขยะมูลฝอยจากการพิมพ์ผ้าลายพฤกษา

นางสาวสุธาทอง หอมยา
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

การเตรียมถ่านชาร์ด้วยเศษไม้และพลาสติกเหลือทิ้งจากกระบวนการรีไซเคิลเม็ดพลาสติกด้วยกระบวนการไพโรไลซิสแบบช้า

ผศ.ดร.สุรชัย วงชารี
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

นวัตกรรมเศรษฐกิจหมุนเวียนการจัดการขยะอินทรีย์ด้วยผลิตภัณฑ์ “สู่ดิน”

นางสาวสวรินทร์ เสือใจ
นางสาวนัชชา บุญแก้ว และ
นางสาวกฤติกา จาริยารัตน์
มหาวิทยาลัยบูรพา

ผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์และสิ่งแวดล้อมจากการลดขนาดความหนาแผ่นอลูมิเนียมที่ใช้ผลิตกระป๋องบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มชูกำลัง

นางสาวอาริยา แสงเลข
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ถังหมักเศษอาหารครัวเรือนพลังงานแสงอาทิตย์

ดร.แสนวสันต์ ยอดคำ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้

การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อคัดเลือกพื้นที่เหมาะสมสำหรับฝังกลบขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักสุขาภิบาล จังหวัดปทุมธานี

นางสาวอรณิชา นิตยะโรจน์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ศักยภาพด้านพลังงานความร้อนของถ่านอัดแท่งจากเหง้ามันสำปะหลังซังข้าวโพดและชานอ้อย

ผศ.จงภร มหาดเล็ก
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร

นางสาวสุวิมล บัวพรหม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


รูปแบบการจัดการคาร์บอนต่ำในศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านสะพานหิน ตำบลทับมา จังหวัดระยอง

นางสาวธนัชภัค เจริญจรรยากูล และ
นางสาวปวีณา อนันตา
มหาวิทยาลัยบูรพา

การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาล กรณีศึกษา : โรงพยาบาลกองบิน 21 จังหวัดอุบลราชธานี

นายธนกฤต วรวัฒน์มงคล
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การปรับตัวของชุมชนประมงพื้นบ้านต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตำบลสองคลอง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา

ดร.ผุสดี ภุมรา
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยในการติดตั้งระบบท่อส่งไอน้ำ

นางสาวยลดา งาใหญ่
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

การประยุกต์ใช้การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์สำหรับการกำจัดขยะมูลฝอยในจังหวัดนครสวรรค์

นายณัฐดนัย เดชจิระกุล
มหาวิทยาลัยนเรศวร

การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการกำจัดขยะมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร

นางสาวนภัสวรรณ แสงทับทิม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การประเมินวัฏจักรชีวิตของการก่อสร้างทางหลวง กรณีศึกษา:  ทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35 สายธนบุรี - ปากท่อ (ถนนพระราม 2)

นางสาวชนิดาภา วงษ์ประไพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

แผ่นปาร์ติเกิ้ลบอร์ดจากทางหมากปิดทับด้วยแผ่นลามิเนตจากกาบหมาก

ผศ.ดร.ประชุม คำพุฒ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

 

การพัฒนาและสมบัติของบล็อกผนังจากปูนซีเมนต์ เศษมวลรวมคอนกรีตมวลเบา และแกนเฮมพ์

ผศ.ดร.ประชุม คำพุฒ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ความต้านแรงอัดของคอนกรีตที่ใช้เศษไม้เทียมเหลือทิ้งเป็นส่วนผสมทดแทนมวลรวมหยาบ

ผศ.ดร.ประชุม คำพุฒ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ภาควิชาการ/ การศึกษา (Poster Presentations)

อิทธิพลต่อการวางตำแหน่งสิ่งปลูกสร้างชั่วคราวในโครงการก่อสร้างเพื่อความปลอดภัยอย่างยั่งยืน

ผศ. ดร.นรารัชต์พร นวลสวรรค์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ความเสี่ยงต่อปัญหาการดำเนินงานก่อสร้างในจังหวัดกรุงเทพมหานคร

ผศ. ดร.นรารัชต์พร นวลสวรรค์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

การผลิตก๊าซไบโอไฮโดรเจนและก๊าซมีเทนจากการหมักร่วมตะกอนน้ำเสียและใบอ้อยที่ไม่ผ่านการปรับสภาพโดยการย่อยสลายไร้อากาศสองขั้นตอนแบบแห้ง

นางสาวพัทจารี ใจอุ่น
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

การศึกษาความเป็นไปได้ในการนำซากอินทรีย์ชายหาดเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตปุ๋ยอินทรีย์

นางสาวบุญจงรักษ์ จิ้วตั้น
โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ศูนย์ภาคใต้

ชนิดและปริมาณขยะอันตรายที่จุดรวบรวมและหน้าเตาเผาขยะชุมชนในเขตเทศบาลตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

นางสาวนุชนาฎ นิลออ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง

ประสิทธิภาพของเครื่องย่อยสลายขยะอินทรีย์ในครัวเรือน

ผศ.กิตติกร ขันแกล้ว
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง

การศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องปฏิกรณ์ชนิดฟองน้ำแขวนไหลลงสำหรับการบำบัดน้ำเสียชุมชนแบบขั้นหลัง

นางสาวชีวาพร ดุกสุขแก้ว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการขยะมูลฝอยของมหาวิทยาลัยพะเยา

ผศ. ดร.บุหรัน พันธุ์สวรรค์
มหาวิทยาลัยพะเยา

 ติดต่อสอบถาม

สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย (สวสท.)
ารส่งผลงาน คุณพนิดา อินสุธา (ปุ๋ม) Tel: (662) 617-1530-1   โทรศัพท์มือถือ 089 666 0608   Fax: (662) 279-9720   E-mail : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.   Facebook: facebook.com/EEAT2016 

  

กลับไปยังหน้าเว็บไซต์งานประชุม

 


Print